Taifudo Academy

ประวัติการเรียนไท่เก๊กของอาจารย์ชีวินกับอาจารย์โค้วจุนฮุย

ประวัติการเรียนไท่เก๊กของอาจารย์ชีวินกับอาจารย์โค้วจุนฮุย
Taifudo Academy - โรงเรียนศิลปศาสตร์การป้องกันตัวไทยหัตถยุทธ หรือ ไทฟูโด รับรองหลักสูตรโดยกระทรวงศึกษาธิการ

ในปี พ.ศ.2530 นับเป็นปีแรกที่ อ.ชีวินฯ ได้พบกับอาจารย์ประมวล ภูมิอมร หรือที่เป็นที่รู้จักกันในนาม “อาจารย์โค้ว จุ่ง ฮุย หรือ อาจารย์โค้ว” สำนักไท่เก๊กแห่งวัดเกาะ เยาวราช ซึ่งนับเป็นไท่เก๊กที่สืบสายตรงจากปรมาจารย์ หยาง เฉิง ฝู่

อาจารย์โค้ว หรือ โค้ว จุง ฮุย สาเหตุที่อาจารย์ชีวิน อัจฉริยะฉาย ได้พบกับอาจารย์โค้ว นั้นก็เนื่องจากอาการช้ำใน เนื่องพลาดพลั้งจากการฝึกซ้อมคาราเต้ ที่มหาวิทยาลัยหอการค้า โดยในครั้งนั้น อาจารย์กฤช วรธำรงค์ (อาจารย์ผู้สอนเทควันโด แก่อาจารย์ชีวินฯ) เป็นผู้ที่นำไปพบ

อาจารย์ชีวินฯ มักกล่าวเสมอว่า หากไม่ได้เฮียกฤช (สรรพนามที่อาจารย์ชีวินเรียกอาจารย์กฤชว่า เฮีย – ผู้เขียน) ก็คงไม่ได้รู้จักอาจารย์โค้ว และก็คงไม่ได้เรียนไท่เก๊ก

อาจารย์กฤช วรธำรงค์ และอาจารย์ชีวิน โดยในการพบกันครั้งแรกนั้น อาจารย์โค้ว ก็เพียงแค่ทำการรักษาอาการช้ำในให้แก่อาจารย์ชีวินฯ เท่านั้น โดยอาจารย์โค้ว ยังมิได้พูดถึงเรื่องมวย หรือเรื่องไท่เก๊กมากนัก เท่าที่ อาจารย์ชีวิน จำได้ ในครั้งนั้นอาจารย์โค้ว พูดประโยคให้ไว้สามประโยคคือ

“จริง จริง เท็จ เท็จ,
เท็จ เท็จ จริง จริง”

“ทีจริงทำเป็นเล่น
ทีเล่นทำให้เหมือนจริง”

“ไม่เอาคือทำเขา
ถ้าเอาถูกเขาทำ”

ซึ่งในเวลานั้น อาจารย์ชีวิน ก็ไม่เข้าใจประโยคที่ให้มาทั้งหมด เข้าใจเพียงประโยค ที่ว่า “ทีจริงทำเป็นเล่น ทีเล่น ทำให้เหมือนจริง” เท่านั้น ว่าขณะฝึกซ้อมต้องซ้อมจริงจัง แต่เวลาใช้จริงให้เหมือนเวลาฝึกซ้อม ส่วนอีกสองประโยคนั้น ก็ยังไม่มีความเข้าใจ

โดยมียาแก้ช้ำใน และยาทา ก็เข้าไปซื้อยาบ้าง เข้าไปคุยเรื่องมวยบ้าง แต่อาจารย์โค้ว ก็แทบไม่ได้ออกมวยไท่เก๊กเลย อาจจะมีสอนบ้าง ก็มิใช่ไท่เก๊ก มักจะเป็นพื้นฐานมวยจีน เสียส่วนใหญ่ โดยสรุปแล้วในช่วงเวลานั้นก็เพียงแต่เป็นการคุยเรื่องมวยต่างๆ และเรื่องสัพเพเหระเท่านั้น โดย อาจารย์โค้ว ก็มิได้คิดจะสอนมวยเลย คงอาจจะยังไม่ถึงเวลาที่จะสอน

หลังจากนั้น อาจารย์ชีวินฯ ก็ได้เดินทางเข้า ออก บ้าน อาจารย์โค้ว อีกบ่อยครั้ง เนื่องจากทราบว่า อาจารย์โค้ว ขายยา โดยมียาแก้ช้ำใน และยาทา ก็เข้าไปซื้อยาบ้าง เข้าไปคุยเรื่องมวยบ้าง แต่อาจารย์โค้ว ก็แทบไม่ได้ออกมวยไท่เก๊กเลย อาจจะมีสอนบ้าง ก็มิใช่ไท่เก๊ก มักจะเป็นพื้นฐานมวยจีน เสียส่วนใหญ่ โดยสรุปแล้วในช่วงเวลานั้นก็เพียงแต่เป็นการคุยเรื่องมวยต่างๆ และเรื่องสัพเพเหระเท่านั้น โดย อาจารย์โค้ว ก็มิได้คิดจะสอนมวยเลย คงอาจจะยังไม่ถึงเวลาที่จะสอนในช่วงเวลานั้นอาจารย์ชีวินฯ ก็ยังเฉย ๆ กับวิชาไท่เก๊ก ด้วยยังไม่เชื่อว่า ไท่เก๊ก จะเป็นวิชาที่สามารถเป็นวิชาการต่อสู้ได้ เนื่องจากภาพที่ติดมาเกี่ยวกับมวย ไม่เปลี่ยน: ในช่วงเวลานั้นอาจารย์ชีวินฯ ก็ยังเฉย ๆ กับวิชาไท่เก๊ก ด้วยยังไม่เชื่อว่า ไท่เก๊ก จะเป็นวิชาที่สามารถเป็นวิชาการต่อสู้ได้ เนื่องจากภาพที่ติดมาเกี่ยวกับมวย

เป็นมวยที่รำช้าๆ เลยไม่ได้มีความสนใจ ในศาสตร์ของมวยนี้ ไม่เปลี่ยน: เป็นมวยที่รำช้า ๆ เลยไม่ได้มีความสนใจ ในศาสตร์ของมวยนี้ กลางปี 2531 อาจารย์ชีวินฯ ต้องย้ายไปเรียนที่ มหาวิทยาลัยพายัพ ไม่เปลี่ยน: กลางปี 2531 อาจารย์ชีวินฯ ต้องย้ายไปเรียนที่ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ (ช่วงนี้เป็นช่วงที่อาจารย์ชีวินฯ ฝึกมวยจีนกับสำนักลิ่วเหอ ซึ่งจะกล่าวถึงอีกครั้งในโอกาสต่อไป- ผู้เขียน) โดยหากมีโอกาสเดินทางลงมากรุงเทพฯ ก็จะแวะเวียนมา ไม่เปลี่ยน: จังหวัดเชียงใหม่ (ช่วงนี้เป็นช่วงที่อาจารย์ชีวินฯ ฝึกมวยจีนกับสำนักลิ่วเหอ ซึ่งจะกล่าวถึงอีกครั้งในโอกาสต่อไป- ผู้เขียน) โดยหากมีโอกาสเดินทางลงมากรุงเทพฯ ก็จะแวะเวียนมา เยี่ยมเยียนอาจารย์โค้ว เสมอ เยี่ยมเยียนอาจารย์โค้ว เสมอ

อาจารย์ชีวินฯ (ขวาสุด) เมื่อครั้งเรียนมวยที่สำนักลิ่วเหอ จ.เชียงใหม่ อาจารย์ชีวิน (ขวาสุด) เมื่อครั้งเรียนมวยที่สำนักลิ่วเหอ จ.เชียงใหม่

กระทั่งปลายปี พ.ศ.2533 อ.ชีวินฯ ได้ย้ายกลับมาอยู่ที่กรุงเทพฯ กระทั่งปลายปี พ.ศ.2533 อ.ชีวินฯ ได้ย้ายกลับมาอยู่ที่กรุงเทพฯ

เนื่องจากต้องมาเรียนภาษาญี่ปุ่น ที่สถาบันส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น โดยมีแผนที่จะเรียนเป็นระยะเวลา 6 เดือน ก่อนที่จะเดินทาง เนื่องจากต้องมาเรียนภาษาญี่ปุ่น ที่สถาบันส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น โดยมีแผนที่จะเรียนเป็นระยะเวลา 6 เดือน ก่อนที่จะเดินทาง

ไปทำงานที่ประเทศญี่ปุ่น ช่วงที่กลับมากรุงเทพฯ ในครั้งนี้นั้นอาจารย์ชีวิน ไปทำงานที่ประเทศญี่ปุ่น ช่วงที่กลับมากรุงเทพฯ ในครั้งนี้นั้นอาจารย์ชีวิน

ได้มาพักที่ซอยลาดพร้าว 95 ซึ่งอยู่ใกล้กับบ้าน อาจารย์กฤช วรธำรงค์ ได้มาพักที่ซอยลาดพร้าว 95 ซึ่งอยู่ใกล้กับบ้าน อาจารย์กฤช วรธำรงค์

เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2533 อาจารย์ชีวิน ได้ขอให้อาจารย์กฤช พาไปพบอาจารย์โค้ว เพื่อขอเรียนไท่เก๊ก เนื่องจากอาจารย์ชีวินฯ ได้เริ่มมีอาการเจ็บหลัง เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2533 อาจารย์ชีวิน ได้ขอให้อาจารย์กฤช พาไปพบอาจารย์โค้ว เพื่อขอเรียนไท่เก๊ก เนื่องจากอาจารย์ชีวินฯ ได้เริ่มมีอาการเจ็บหลัง

(เพราะเคยล้มรถมอเตอร์ไซด์ ในปี พ.ศ.2532) ทำให้มีอาการเจ็บหลังเรื้อรัง ไม่สามารถที่จะเตะหรือเรียนมวยแข็งได้เหมือนเดิม ในความคิดครั้งแรก ( เพราะเคยล้มรถมอเตอร์ไซด์ ในปี พ.ศ.2532) ทำให้มีอาการเจ็บหลังเรื้อรัง ไม่สามารถที่จะเตะหรือเรียนมวยแข็งได้เหมือนเดิม ในความคิดครั้งแรก

ที่จะเรียนไท่เก๊ก กับอาจารย์โค้ว นั้น ยังไม่ได้คิดว่า ที่จะเรียนไท่เก๊ก กับอาจารย์โค้ว นั้น ยังไม่ได้คิดว่า

จะเรียนเพื่อการต่อสู้หรือป้องกันตัวแต่อย่างใด เพียงแต่ต้องการที่จะเรียนเพื่อสุขภาพและรักษาสภาพมวยเดิมเอาไว้เท่านั้น จะเรียนเพื่อการต่อสู้หรือป้องกันตัวแต่อย่างใด เพียงแต่ต้องการที่จะเรียนเพื่อสุขภาพและรักษาสภาพมวยเดิมเอาไว้เท่านั้น

ในวันที่ อาจารย์กฤช พาอาจารย์ชีวินฯ ไปพบ อาจารย์โค้ว ในวันที่ อาจารย์กฤช พาอาจารย์ชีวินฯ ไปพบ อาจารย์โค้ว

ในครั้งนี้นั้นพบว่า อาจารย์โค้ว ยิ้มแย้มแจ่มใส และพูดคุยอย่างสนุกสนาน ในครั้งนี้นั้นพบว่า อาจารย์โค้ว ยิ้มแย้มแจ่มใส และพูดคุยอย่างสนุกสนาน

ซึ่ง อาจารย์โค้ว ได้สอบถาม อาจารย์ชีวินฯ ว่าได้เคยเรียนมวยอะไรมาบ้าง ซึ่ง อาจารย์โค้ว ได้สอบถาม อาจารย์ชีวินฯ ว่าได้เคยเรียนมวยอะไรมาบ้าง

และให้ อาจารย์ชีวินฯ รำมวยให้ดู อีกทั้งในครั้งนี้อาจารย์โค้วยังได้เรียกอาจารย์ชีวินมาตีแขนเพื่อทดสอบความแข็งแรง และให้ อาจารย์ชีวินฯ รำมวยให้ดู อีกทั้งในครั้งนี้อาจารย์โค้วยังได้เรียกอาจารย์ชีวินมาตีแขนเพื่อทดสอบความแข็งแรง

ของแขนอีกด้วย ซึ่งอาจารย์โค้ว บอกว่า ความแข็งของแขนอาจารย์ชีวินฯ นั้นใช้ได้ ของแขนอีกด้วย ซึ่งอาจารย์โค้ว บอกว่า ความแข็งของแขนอาจารย์ชีวินฯ นั้นใช้ได้

หลังจากนั้น อาจารย์โค้ว ก็กลับไปนั่งเก้าอี้สนทนากันอีกสักพัก แล้ว อาจารย์โค้ว หลังจากนั้น อาจารย์โค้ว ก็กลับไปนั่งเก้าอี้สนทนากันอีกสักพัก แล้ว อาจารย์โค้ว

ก็ลุกขึ้นจากเก้าอี้ เรียกอาจารย์ชีวินเข้าไป เมื่ออาจารย์ชีวินฯ เดินเข้าไป เพียงสัมผัสโดนมืออาจารย์โค้ว แล้วสิ้นเสียง “ฮะ” ที่อาจารย์ โค้ว เปล่งออกมา ก็ลุกขึ้นจากเก้าอี้ เรียกอาจารย์ชีวินเข้าไป เมื่ออาจารย์ชีวินฯ เดินเข้าไป เพียงสัมผัสโดนมืออาจารย์โค้ว แล้วสิ้นเสียง “ฮะ” ที่อาจารย์ โค้ว เปล่งออกมา

ตัวอาจารย์ชีวินฯ ก็ลอยกระเด็นออกไปติดฝาผนังบ้าน ตกมากระทบเก้าอี้้ ล้มลงท่าคุกเข่า โดยอาจารย์ชีวิน เล่าว่า ไม่รู้เลยว่าโดนอย่างไร ตัวอาจารย์ชีวินฯ ก็ลอยกระเด็นออกไปติดฝาผนังบ้าน ตกมากระทบเก้าอี้้ ล้มลงท่าคุกเข่า โดยอาจารย์ชีวิน เล่าว่า ไม่รู้เลยว่าโดนอย่างไร

ในใจอาจารย์ชีวิน ในขณะนั้น มีความคิดแค่เพียงว่า “ใช่เลย” ไม่มีคำพูดอะไรอีกเลย “ต้องเรียนกับอาจารย์โค้วแน่นอนไม่ต้องคิดอะไรอีกแล้ว” ในใจอาจารย์ชีวิน ในขณะนั้น มีความคิดแค่เพียงว่า “ใช่เลย” ไม่มีคำพูดอะไรอีกเลย “ต้องเรียนกับอาจารย์โค้วแน่นอนไม่ต้องคิดอะไรอีกแล้ว”

ในวันนั้น อาจารย์ชีวินฯ ก็ได้เล่นมวยกับ อาจารย์โค้ว อีกหลายครั้ง เล่นกันจนอาจารย์ชีวินฯ ต้องขอยาแก้ช้ำในกินกันเลยทีเดียว ซึ่งคืนนั้น อาจารย์ชีวินฯ เล่าว่า วันนั้นอาจารย์โค้วดูอารมณ์ดีมาก มีความสุขที่ได้เล่นมวย ซึ่งวันนี้เอง อาจารย์โค้ว บอกกับอาจารย์ชีวินว่า หากจะเรียนให้หาเพื่อนมาอีกคนหนึ่ง เพราะหากสอนการผลักมือ จะได้มีคู่ที่จะซ้อมกัน ซึ่งเพื่อนคนที่อาจารย์ชีวินฯ ไปชวนมาเรียนด้วย ก็คือเพื่อนที่ชื่อ คุณยิ่งยศ ลอยชูศักดิ์   ในวันนั้น อาจารย์ชีวินฯ ก็ได้เล่นมวยกับ อาจารย์โค้ว อีกหลายครั้ง เล่นกันจนอาจารย์ชีวินฯ ต้องขอยาแก้ช้ำในกินกันเลยทีเดียว ซึ่งคืนนั้น อาจารย์ชีวินฯ เล่าว่า วันนั้นอาจารย์โค้วดูอารมณ์ดีมาก มีความสุขที่ได้เล่นมวย ซึ่งวันนี้เอง อาจารย์โค้ว บอกกับอาจารย์ชีวินว่า หากจะเรียนให้หาเพื่อนมาอีกคนหนึ่ง เพราะหากสอนการผลักมือ จะได้มีคู่ที่จะซ้อมกัน ซึ่งเพื่อนคนที่อาจารย์ชีวินฯ ไปชวนมาเรียนด้วย ก็คือเพื่อนที่ชื่อ คุณยิ่งยศ ลอยชูศักดิ์

อาจารย์ชีวิน กับคุณยิ่งยศ ลอยชูศักดิ์ (ยศ) อาจารย์ชีวิน กับคุณยิ่งยศ ลอยชูศักดิ์ (ยศ)

เมื่อทุกอย่างพร้อม อาจารย์โค้ว จึงนัดวันที่จะเรียน โดยวันแรกที่อาจารย์โค้วนัดให้ไปเรียนนั้น อาจารย์โค้ว นัดหกโมงเช้าที่สวนจตุจักร แต่เมื่อ อาจารย์ชีวินและเพื่อนที่ชื่อ คุณ ยิ่งยศ เดินทางไปที่สวนจตุจักร ตามเวลานัด ก็ไม่พบอาจารย์โค้ว เมื่อทุกอย่างพร้อม อาจารย์โค้ว จึงนัดวันที่จะเรียน โดยวันแรกที่อาจารย์โค้วนัดให้ไปเรียนนั้น อาจารย์โค้ว นัดหกโมงเช้าที่สวนจตุจักร แต่เมื่อ อาจารย์ชีวินและเพื่อนที่ชื่อ คุณ ยิ่งยศ เดินทางไปที่สวนจตุจักร ตามเวลานัด ก็ไม่พบอาจารย์โค้ว

จนกระทั่งเมื่อเวลาล่วงไป อาจารย์ชีวินจึงโทรศัพท์เข้าไปหา อาจารย์โค้ว จนกระทั่งเมื่อเวลาล่วงไป อาจารย์ชีวินจึงโทรศัพท์เข้าไปหา อาจารย์โค้ว

อาจารย์โค้ว รับสาย แล้วกล่าวว่า “พวกลื้อไปด้วยหรือ” พร้อมกับหัวเราะ จากนั้นจึงบอกให้ทั้งคู่ไปเจอแกที่บ้าน ที่เยาวราช ซึ่งวันนั้นกว่าที่ทั้งคู่จะเดินทางไปถึงบ้านอาจารย์โค้ว เวลาก็ล่วงไปจนเกือบจะเที่ยงวันแล้ว ซึ่งในวันนั้นก็ยังไม่ได้มีการฝึกอะไร เพียงแต่เข้าไปนั่งคุยกันเท่านั้น พร้อมกันนั้นก็ได้นัดกันในครั้งต่อ ๆ ไป โดยอาจารย์โค้ว ได้นัดให้ไปเรียนที่บ้านอาจารย์โค้ว แถวรามอินทรา อาจารย์โค้ว รับสาย แล้วกล่าวว่า “พวกลื้อไปด้วยหรือ” พร้อมกับหัวเราะ จากนั้นจึงบอกให้ทั้งคู่ไปเจอแกที่บ้าน ที่เยาวราช ซึ่งวันนั้นกว่าที่ทั้งคู่จะเดินทางไปถึงบ้านอาจารย์โค้ว เวลาก็ล่วงไปจนเกือบจะเที่ยงวันแล้ว ซึ่งในวันนั้นก็ยังไม่ได้มีการฝึกอะไร เพียงแต่เข้าไปนั่งคุยกันเท่านั้น พร้อมกันนั้นก็ได้นัดกันในครั้งต่อ ๆ ไป โดยอาจารย์โค้ว ได้นัดให้ไปเรียนที่บ้านอาจารย์โค้ว แถวรามอินทรา

เวลา 6 โมงเช้าทุกวันเสาร์และอาทิตย์ เวลา 6 โมงเช้าทุกวันเสาร์และอาทิตย์

แต่เมื่ออาจารย์ชีวิน และเพื่อนที่ชื่อ คุณยิ่งยศ เข้าไปเรียนก็พบว่ามีกลุ่มนักเรียนที่เรียนอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งหนึ่งในนั้นก็มี เพื่อนที่ชื่อ คุณอุดมศิลป์ เหมสถาปัตย์ (คุณติ๊ก ซึ่งปัจจุบัน ได้เป็นอาจารย์ผู้เผยแพร่ไท่เก๊กตระกูลอู๋ อีกด้วย) และ เพื่อนกลุ่มคุณติ๊ก อีก 3 คน โดยคุณติ๊กได้ทำการไหว้ครูไปก่อนแล้ว แต่เมื่ออาจารย์ชีวิน และเพื่อนที่ชื่อ คุณยิ่งยศ เข้าไปเรียนก็พบว่ามีกลุ่มนักเรียนที่เรียนอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งหนึ่งในนั้นก็มี เพื่อนที่ชื่อ คุณอุดมศิลป์ เหมสถาปัตย์ (คุณติ๊ก ซึ่งปัจจุบัน ได้เป็นอาจารย์ผู้เผยแพร่ไท่เก๊กตระกูลอู๋ อีกด้วย) และ เพื่อนกลุ่มคุณติ๊ก อีก 3 คน โดยคุณติ๊กได้ทำการไหว้ครูไปก่อนแล้ว

หลังจากนั้นผ่านไปหนึ่งเดือนคุณยิ่งยศก็ได้ชวนเพื่อนมาเรียนอีกคนหนึ่ง หลังจากนั้นผ่านไปหนึ่งเดือนคุณยิ่งยศก็ได้ชวนเพื่อนมาเรียนอีกคนหนึ่ง

ชื่อ คุณปรีดี เสียงลิ่วลือ (คุณหมิ่น) ชื่อ คุณปรีดี เสียงลิ่วลือ (คุณหมิ่น)

ผ่านไปสองเดือน ก็เหลือผู้เรียนเพียงสี่คน คือ อาจารย์ชีวินและ เพื่อนอีกสามคน คือ คุณติ๊ก,คุณยศ,และคุณหมิ่น   ผ่านไปสองเดือน ก็เหลือผู้เรียนเพียงสี่คน คือ อาจารย์ชีวินและ เพื่อนอีกสามคน คือ คุณติ๊ก,คุณยศ,และคุณหมิ่น

(ซ้าย) คุณปรีดี เสียงลิ่วลือ (คุณหมิ่น) (ซ้าย) คุณปรีดี เสียงลิ่วลือ (คุณหมิ่น)

(ขวา) คุณอุดมศิลป์ เหมสถาปัตย์ (คุณติ๊ก) (ขวา) คุณอุดมศิลป์ เหมสถาปัตย์ (คุณติ๊ก)

วันแรกของเดือนที่ 3 นับจากเริ่มเรียน อาจารย์ชีวิน ก็รำเก๊กที่ 3 ของมวยไท่เก๊กตระกลูหยาง (ท่ารำเต็มชุด 85 ท่า ซึ่งอาจารย์โค้ว เคยเรียน กับอาจารย์ปู่ ตง ฟู่ หลิน) จบ ซึ่งเก๊กที่ 3 นี้ อาจารย์โค้ว เพียงแค่นั่งบอกเท่านั้นว่ารำอย่างไร แล้วให้อาจารย์ชีวิน รำตามที่บอก   วันแรกของเดือนที่ 3 นับจากเริ่มเรียน อาจารย์ชีวิน ก็รำเก๊กที่ 3 ของมวยไท่เก๊กตระกลูหยาง (ท่ารำเต็มชุด 85 ท่า ซึ่งอาจารย์โค้ว เคยเรียน กับอาจารย์ปู่ ตง ฟู่ หลิน) จบ ซึ่งเก๊กที่ 3 นี้ อาจารย์โค้ว เพียงแค่นั่งบอกเท่านั้นว่ารำอย่างไร แล้วให้อาจารย์ชีวิน รำตามที่บอก

หลังจากนั้นไม่นานจึงมีการพูดคุยกันว่าจะไหว้ครูกัน ซึ่งอาจารย์โค้ว กำหนดให้เป็นเดือนเมษายน ในขณะนั้น อาจารย์ชีวินบอกกับศิษย์พี่น้อง ว่าคงไม่มีเงินค่าไหว้ครูคงต้องให้คนอื่นไหว้ครูกันไปก่อน เมื่อเรื่องนี้ทราบไปถึงเพื่อนที่ชื่อ นิ่ม (คุณเพ็ญพักตรา ศรีอุดร) ซึ่งเป็นเพื่อนที่ชมรมคาราเต้ มหาวิทยาลัยหอการค้า เพื่อนคนนี้ก็บอกว่าให้นำเงินเขาไปไหว้ครูก่อน ซึ่งจนถึงปัจจุบัน อาจารย์ชีวิน ก็ยังกล่าวถึง เพื่อนคนนี้อยู่เสมอ ว่าหากไม่ได้เพื่อนคนนี้ก็คงไม่ได้ไหว้ครูในครั้งนั้นเป็นแน่ และทำให้การไหว้ครูกับอาจารย์โค้ว ต้องล่าช้าออกไปอีก หลังจากนั้นไม่นานจึงมีการพูดคุยกันว่าจะไหว้ครูกัน ซึ่งอาจารย์โค้ว กำหนดให้เป็นเดือนเมษายน ในขณะนั้น อาจารย์ชีวินบอกกับศิษย์พี่น้อง ว่าคงไม่มีเงินค่าไหว้ครูคงต้องให้คนอื่นไหว้ครูกันไปก่อน เมื่อเรื่องนี้ทราบไปถึงเพื่อนที่ชื่อ นิ่ม (คุณเพ็ญพักตรา ศรีอุดร) ซึ่งเป็นเพื่อนที่ชมรมคาราเต้ มหาวิทยาลัยหอการค้า เพื่อนคนนี้ก็บอกว่าให้นำเงินเขาไปไหว้ครูก่อน ซึ่งจนถึงปัจจุบัน อาจารย์ชีวิน ก็ยังกล่าวถึง เพื่อนคนนี้อยู่เสมอ ว่าหากไม่ได้เพื่อนคนนี้ก็คงไม่ได้ไหว้ครูในครั้งนั้นเป็นแน่ และทำให้การไหว้ครูกับอาจารย์โค้ว ต้องล่าช้าออกไปอีก

ในงานไหว้ครูปี พ.ศ.2534 จึงมีผู้ไหว้ครูจำนวน 3 คน คือ อาจารย์ชีวินและอีกสองคนคือ คุณยศและคุณหมิ่น โดยทำการไหว้ครูกันที่บ้าน อาจารย์โค้ว ที่เยาวราช ในงานไหว้ครูปี พ.ศ.2534 จึงมีผู้ไหว้ครูจำนวน 3 คน คือ อาจารย์ชีวินและอีกสองคนคือ คุณยศและคุณหมิ่น โดยทำการไหว้ครูกันที่บ้าน อาจารย์โค้ว ที่เยาวราช

หลังจากไหว้ครูได้ ประมาณ 1 เดือน อาจารย์ชีวิน ก็ต้องเดินทางไปทำงานที่ญี่ปุ่น ซึ่งภายหลังจากที่ อาจารย์ชีวิน เดินทางไปญี่ปุ่น ศิษย์พี่น้องคนอื่นๆ ก็เริ่มติดภารกิจ จึงทำให้ไม่ค่อยได้ไปเรียนกัน หลังจากไหว้ครูได้ ประมาณ 1 เดือน อาจารย์ชีวิน ก็ต้องเดินทางไปทำงานที่ญี่ปุ่น ซึ่งภายหลังจากที่ อาจารย์ชีวิน เดินทางไปญี่ปุ่น ศิษย์พี่น้องคนอื่น ๆ ก็เริ่มติดภารกิจ จึงทำให้ไม่ค่อยได้ไปเรียนกัน

อาจารย์ชีวิน ตอนอยู่ประเทศญี่ปุ่น อาจารย์ชีวิน ตอนอยู่ประเทศญี่ปุ่น

หลังจาก อาจารย์ชีวิน กลับจากประเทศญี่ปุ่น (รวมระยะเวลาที่อยู่ประเทศญี่ปุ่น 76 วัน) ได้ระยะหนึ่ง อาการเจ็บหลังก็กำเริบ เมื่ออาการเริ่มทุเลาลง ก็เดินทางไปทำงานที่ภูเก็ต แต่ก็ยังรำไท่เก๊กอยู่สม่ำเสมอ   หลังจาก อาจารย์ชีวิน กลับจากประเทศญี่ปุ่น (รวมระยะเวลาที่อยู่ประเทศญี่ปุ่น 76 วัน) ได้ระยะหนึ่ง อาการเจ็บหลังก็กำเริบ เมื่ออาการเริ่มทุเลาลง ก็เดินทางไปทำงานที่ภูเก็ต แต่ก็ยังรำไท่เก๊กอยู่สม่ำเสมอ

ปี พ.ศ.2535 อัลเฟรด โคริซิโอ (Alfred Colicio) ชาวอิตาลี มาขอเรียนไท่เก๊ก กับ อาจารย์ชีวิน อาจารย์ชีวินจึงได้โทรศัพท์ไปปรึกษา อาจารย์โค้ว ว่าควรสอนอย่างไร เพราะคิดว่าตัวเองยังมีฝีมือไม่ดี แต่เขาอยากเรียนมาก อาจารย์โค้ว ก็เลยบอกว่าให้สอน “เพราะถ้าลื้อสอน ลื้อก็จะเข้าใจในสิ่งที่อั๊วะสอน” ปี พ.ศ.2535 อัลเฟรด โคริซิโอ (Alfred Colicio) ชาวอิตาลี มาขอเรียนไท่เก๊ก กับ อาจารย์ชีวิน อาจารย์ชีวินจึงได้โทรศัพท์ไปปรึกษา อาจารย์โค้ว ว่าควรสอนอย่างไร เพราะคิดว่าตัวเองยังมีฝีมือไม่ดี แต่เขาอยากเรียนมาก อาจารย์โค้ว ก็เลยบอกว่าให้สอน “เพราะถ้าลื้อสอน ลื้อก็จะเข้าใจในสิ่งที่อั๊วะสอน”

อัลเฟรด โคริซิโอ ลูกศิษย์ไท่เก๊กคนแรกของอาจารย์ชีวิน อัลเฟรด โคริซิโอ ลูกศิษย์ไท่เก๊กคนแรกของอาจารย์ชีวิน

อาจารย์ชีวิน เลยตัดสินใจและตกลงที่จะสอน เพราะฉะนั้น อัลเฟรด โคริซิโอ จึงนับเป็นลูกศิษย์ไท่เก๊ก คนแรกของอาจารย์ชีวินฯ อาจารย์ชีวิน เลยตัดสินใจและตกลงที่จะสอน เพราะฉะนั้น อัลเฟรด โคริซิโอ จึงนับเป็นลูกศิษย์ไท่เก๊ก คนแรกของอาจารย์ชีวินฯ

เย็นวันหนึ่ง อัลเฟรด เชิญ อาจารย์ชีวินฯ ไปทานข้าวที่บ้าน ภรรยา อัลเฟรด ซึ่งเป็นคนไทย เมื่อเห็นอาจารย์ชีวิน เลยถามอายุ อาจารย์ชีวิน จึงตอบอายุของตนเองไป (ซึ่งขณะนั้นอาจารย์ชีวิน อายุเพียง 24 ปี) ภรรยาชาวไทยของ อัลเฟรด บอกว่าอายุน้อยเท่านี้สอนได้หรือ อัลเฟรด (ขณะนั้นอายุ 42ปี) จึงกล่าวกับภรรยาของตนว่า “มันไม่ได้อยู่ที่อายุ แต่อยู่ที่ความสามารถว่าสอนได้หรือไม่” เย็นวันหนึ่ง อัลเฟรด เชิญ อาจารย์ชีวินฯ ไปทานข้าวที่บ้าน ภรรยา อัลเฟรด ซึ่งเป็นคนไทย เมื่อเห็นอาจารย์ชีวิน เลยถามอายุ อาจารย์ชีวิน จึงตอบอายุของตนเองไป (ซึ่งขณะนั้นอาจารย์ชีวิน อายุเพียง 24 ปี) ภรรยาชาวไทยของ อัลเฟรด บอกว่าอายุน้อยเท่านี้สอนได้หรือ อัลเฟรด (ขณะนั้นอายุ 42 ปี) จึงกล่าวกับภรรยาของตนว่า “มันไม่ได้อยู่ที่อายุ แต่อยู่ที่ความสามารถว่าสอนได้หรือไม่”

ตุลาคม 2535 อาจารย์ชีวิน มีธุระที่จะเดินทางขึ้นไปกรุงเทพฯ เพื่อขอวีซ่า ไปประเทศญี่ปุ่นอีกครั้ง แต่เนื่องจากวีซ่า ไม่ผ่าน ตุลาคม 2535 อาจารย์ชีวิน มีธุระที่จะเดินทางขึ้นไปกรุงเทพฯ เพื่อขอวีซ่า ไปประเทศญี่ปุ่นอีกครั้ง แต่เนื่องจากวีซ่า ไม่ผ่าน

อาจารย์ชีวิน เลยตัดสินใจอยู่กรุงเทพฯ เพื่อเรียนมวยและเรียนเกี่ยวกับการรักษากับ อาจารย์โค้ว ต่อ อาจารย์ชีวิน เลยตัดสินใจอยู่กรุงเทพฯ เพื่อเรียนมวยและเรียนเกี่ยวกับการรักษากับ อาจารย์โค้ว ต่อ

ซึ่งอาจารย์ชีวิน เล่าว่า ในครั้งนี้ ได้พัฒนาฝีมือตนเองไปมาก ซึ่งอาจารย์ชีวิน เล่าว่า ในครั้งนี้ ได้พัฒนาฝีมือตนเองไปมาก

เพราะ อาจารย์ชีวิน ได้ไปบ้านอาจารย์โค้ว เกือบทุกวัน ประกอบกับเวลานั้น เป็นช่วงที่ไม่มีคนอื่นมาเรียนไท่เก๊กกับอาจารย์โค้ว เพราะ อาจารย์ชีวิน ได้ไปบ้านอาจารย์โค้ว เกือบทุกวัน ประกอบกับเวลานั้น เป็นช่วงที่ไม่มีคนอื่นมาเรียนไท่เก๊กกับอาจารย์โค้ว

ช่วงเวลานั้น อาจารย์โค้วให้เงินแก่ อาจารย์ชีวิน อาทิตย์ละ 100 บาท เป็นค่าเดินทาง เนื่องจาก อาจารย์ชีวินในขณะนั้น ไม่มีรายได้ ช่วงเวลานั้น อาจารย์โค้วให้เงินแก่ อาจารย์ชีวิน อาทิตย์ละ 100 บาท เป็นค่าเดินทาง เนื่องจาก อาจารย์ชีวินในขณะนั้น ไม่มีรายได้

อาจารย์ชีวิน ต้องตื่นนอนประมาณตีสี่ เพื่อเดินทางออกจาก อาจารย์ชีวิน ต้องตื่นนอนประมาณตีสี่ เพื่อเดินทางออกจาก

ซอยลาดพร้าว 95 ให้ถึงบ้าน อาจารย์โค้ว ก่อน หกโมงเช้า เมื่อถึงแล้วก็ต้องเช็ดโต๊ะ เตรียมสำรับน้ำชา และหยิบไม้เท้าของอาจารย์โค้ว จัดเตรียมวางไว้ เมื่ออาจารย์โค้ว เดินลงมาจากชั้น2 ซอยลาดพร้าว 95 ให้ถึงบ้าน อาจารย์โค้ว ก่อน หกโมงเช้า เมื่อถึงแล้วก็ต้องเช็ดโต๊ะ เตรียมสำรับน้ำชา และหยิบไม้เท้าของอาจารย์โค้ว จัดเตรียมวางไว้ เมื่ออาจารย์โค้ว เดินลงมาจากชั้น2

ตอนหกโมงตรง อาจารย์ชีวิน ต้องรอรับกระเป๋าอุปกรณ์ของอาจารย์โค้ว หลังจากนั้น อาจารย์โค้ว จะนำน้ำชาที่อาจารย์ชีวินเตรียมไว้มากลั้วปาก และจะดื่มน้ำเปล่าตามอีกแก้ว ตอนหกโมงตรง อาจารย์ชีวิน ต้องรอรับกระเป๋าอุปกรณ์ของอาจารย์โค้ว หลังจากนั้น อาจารย์โค้ว จะนำน้ำชาที่อาจารย์ชีวินเตรียมไว้มากลั้วปาก และจะดื่มน้ำเปล่าตามอีกแก้ว

ภายหลังจากที่ อาจารย์โค้ว ใส่บาตร ก็จะเริ่มเรียนกัน โดยเรียนกันจนถึง เวลา ประมาณแปดโมง และจะไปทานข้าวเช้าที่ร้านพี่ภา (หนึ่งในลูกสาวอาจารย์โค้ว) จากนั้นอาจารย์ชีวิน ต้องกลับมาจัดเตรียมยาทานและยาอินซูลินเพื่อเตรียมไว้ให้อาจารย์โค้วฉีด (เนื่องจากขณะนั้น อาจารย์โค้ว เป็นโรคหัวใจ, ความดัน และ เบาหวาน) ภายหลังกลับมาก็เตรียมการรักษาคนไข้ (อาจารย์โค้ว เป็นหมอรักษาแบบแผนจีนโบราณ ในแขนงจัดกระดูก กดจุด และรักษาอาการบอบช้ำต่าง ๆ) หากยังไม่มีคนไข้ อาจารย์โค้ว ก็จะคุยสัพเพเหระ และเรื่องมวยต่าง ๆ แต่หากมีคนไข้ก็จะให้ อาจารย์ชีวินเป็นผู้ช่วย ซึ่งอาจารย์ชีวิน ก็ได้เรียนรู้วิธีการกดจุด และวิธีการรักษาควบคู่กันไปด้วย ภายหลังจากที่ อาจารย์โค้ว ใส่บาตร ก็จะเริ่มเรียนกัน โดยเรียนกันจนถึง เวลา ประมาณแปดโมง และจะไปทานข้าวเช้าที่ร้านพี่ภา (หนึ่งในลูกสาวอาจารย์โค้ว) จากนั้นอาจารย์ชีวิน ต้องกลับมาจัดเตรียมยาทานและยาอินซูลินเพื่อเตรียมไว้ให้อาจารย์โค้วฉีด (เนื่องจากขณะนั้น อาจารย์โค้ว เป็นโรคหัวใจ, ความดัน และ เบาหวาน) ภายหลังกลับมาก็เตรียมการรักษาคนไข้ (อาจารย์โค้ว เป็นหมอรักษาแบบแผนจีนโบราณ ในแขนงจัดกระดูก กดจุด และรักษาอาการบอบช้ำต่าง ๆ) หากยังไม่มีคนไข้ อาจารย์โค้ว ก็จะคุยสัพเพเหระ และเรื่องมวยต่าง ๆ แต่หากมีคนไข้ก็จะให้ อาจารย์ชีวินเป็นผู้ช่วย ซึ่งอาจารย์ชีวิน ก็ได้เรียนรู้วิธีการกดจุด และวิธีการรักษาควบคู่กันไปด้วย

(พร้อมกับหลานชาย อาจารย์โค้ว อีกคนชื่อ เฮียชง) (พร้อมกับหลานชาย อาจารย์โค้ว อีกคนชื่อ เฮียชง)

พอเที่ยงวันก็ทานข้าวร่วมกัน ประมาณสี่โมงเย็น อาจารย์ชีวิน ก็จะกลับไปซ้อมที่วัดเกาะด้วยตนเอง กลับมา ห้าโมงครึ่ง พอเที่ยงวันก็ทานข้าวร่วมกัน ประมาณสี่โมงเย็น อาจารย์ชีวิน ก็จะกลับไปซ้อมที่วัดเกาะด้วยตนเอง กลับมา ห้าโมงครึ่ง

อาจารย์ชีวิน ก็ต้องจัดเตรียมโต๊ะสำรับอาหาร เพราะอาจารย์โค้วจะรับประทานอาหารช่วงหกโมงเย็น เมื่อรับประทานเสร็จ อาจารย์ชีวิน ต้องเก็บจานชามไปล้าง แล้วก็ทำความสะอาดบ้าน ซึ่งระหว่างนี้ อาจารย์โค้ว ก็มักจะมานั่งผ่อนคลายที่หน้าบ้าน ภายหลังจากที่อาจารย์ชีวินเสร็จภารกิจ ก็จะมานั่งคุยและเล่นมวยกันต่อ โดยปกติแล้วอาจารย์โค้ว จะเข้านอนประมาณสามทุ่มของทุกวัน เมื่ออาจารย์ชีวิน ส่งอาจารย์โค้ว เข้านอนแล้ว ก็จะนำสำรับอาหารที่เหลือจากช่วงเย็นที่พี่ภา (ลูกสาวอาจารย์โค้ว) เตรียมไว้ให้มาทานอีกมื้อหนึ่ง อาจารย์ชีวิน ก็ต้องจัดเตรียมโต๊ะสำรับอาหาร เพราะอาจารย์โค้วจะรับประทานอาหารช่วงหกโมงเย็น เมื่อรับประทานเสร็จ อาจารย์ชีวิน ต้องเก็บจานชามไปล้าง แล้วก็ทำความสะอาดบ้าน ซึ่งระหว่างนี้ อาจารย์โค้ว ก็มักจะมานั่งผ่อนคลายที่หน้าบ้าน ภายหลังจากที่อาจารย์ชีวินเสร็จภารกิจ ก็จะมานั่งคุยและเล่นมวยกันต่อ โดยปกติแล้วอาจารย์โค้ว จะเข้านอนประมาณสามทุ่มของทุกวัน เมื่ออาจารย์ชีวิน ส่งอาจารย์โค้ว เข้านอนแล้ว ก็จะนำสำรับอาหารที่เหลือจากช่วงเย็นที่พี่ภา (ลูกสาวอาจารย์โค้ว) เตรียมไว้ให้มาทานอีกมื้อหนึ่ง

อาจารย์ชีวินจะเดินทางออกจากบ้านอาจารย์โค้ว ประมาณสี่ทุ่ม บางวันก็จะเดินดูนั่นดูนี่แถวเยาวราช ก่อนที่จะเดินทางกลับบ้านที่ลาดพร้าว 95 ถึงบ้านก็เป็นเวลาเที่ยงคืนโดยประมาณ แล้วจะเข้านอนประมาณตีหนึ่ง แล้วตื่นนอนตอนตีสี่ เป็นกิจวัตร ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ ตลอดระยะเวลาประมาณสามเดือน อาจารย์ชีวินจะเดินทางออกจากบ้านอาจารย์โค้ว ประมาณสี่ทุ่ม บางวันก็จะเดินดูนั่นดูนี่แถวเยาวราช ก่อนที่จะเดินทางกลับบ้านที่ลาดพร้าว 95 ถึงบ้านก็เป็นเวลาเที่ยงคืนโดยประมาณ แล้วจะเข้านอนประมาณตีหนึ่ง แล้วตื่นนอนตอนตีสี่ เป็นกิจวัตร ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ ตลอดระยะเวลาประมาณสามเดือน

โดยในเย็นวันศุกร์ หากอาจารย์โค้วจะกลับบ้านที่รามอินทรา อาจารย์ชีวินจะตามไปส่ง แล้วค่อยเดินทางกลับบ้านที่ลาดพร้าว 95 แต่หากศุกร์ใด อาจารย์โค้ว ไม่ได้ไปบ้านที่รามอินทรา อาจารย์ชีวิน ก็จะโดยสารรถไฟ เพื่อไปวัดพระขาว ต.ท่าเรือ อ.เสนา จ.อยุธยา เพื่อไปฝึกกรรมฐาน และเรียนโหราศาสตร์ที่นั่น (จะกล่าวอีกครั้งในโอกาสต่อไป-ผู้เขียน) โดยในเย็นวันศุกร์ หากอาจารย์โค้วจะกลับบ้านที่รามอินทรา อาจารย์ชีวินจะตามไปส่ง แล้วค่อยเดินทางกลับบ้านที่ลาดพร้าว 95 แต่หากศุกร์ใด อาจารย์โค้ว ไม่ได้ไปบ้านที่รามอินทรา อาจารย์ชีวิน ก็จะโดยสารรถไฟ เพื่อไปวัดพระขาว ต.ท่าเรือ อ.เสนา จ.อยุธยา เพื่อไปฝึกกรรมฐาน และเรียนโหราศาสตร์ที่นั่น (จะกล่าวอีกครั้งในโอกาสต่อไป-ผู้เขียน)

นับเป็นช่วงเวลาสามเดือน ที่ อาจารย์ ชีวินเล่าว่า เป็นช่วงเวลาที่มีความสุขที่สุดครั้งหนึ่งในชีวิต แม้ว่า ในขณะนั้นอาจารย์ชีวิน จะไม่มีรายได้ก็ตาม นับเป็นช่วงเวลาสามเดือน ที่ อาจารย์ ชีวินเล่าว่า เป็นช่วงเวลาที่มีความสุขที่สุดครั้งหนึ่งในชีวิต แม้ว่า ในขณะนั้นอาจารย์ชีวิน จะไม่มีรายได้ก็ตาม

หลังจากนั้นสามเดือน อาจารย์โค้ว ก็แนะนำให้อาจารย์ชีวินไปเปิดนวดที่ภูเก็ต แต่ อาจารย์ชีวิน บอกว่าเป็นไปไม่ได้ แต่ อาจารย์โค้ว กล่าวว่า “ไม่ได้ขึ้นอยู่ที่ว่าทำได้หรือไม่ได้ แต่ขึ้นอยู่กับว่ากล้าทำหรือไม่กล้าทำ” หากมีปัญหาอะไรก็ให้มาปรึกษา ส่วนเรื่องตัวยาต่าง ๆ อาจารย์โค้ว จะเป็นผู้ดูแลให้ หลังจากนั้นสามเดือน อาจารย์โค้ว ก็แนะนำให้อาจารย์ชีวินไปเปิดนวดที่ภูเก็ต แต่ อาจารย์ชีวิน บอกว่าเป็นไปไม่ได้ แต่ อาจารย์โค้ว กล่าวว่า “ไม่ได้ขึ้นอยู่ที่ว่าทำได้หรือไม่ได้ แต่ขึ้นอยู่กับว่ากล้าทำหรือไม่กล้าทำ” หากมีปัญหาอะไรก็ให้มาปรึกษา ส่วนเรื่องตัวยาต่าง ๆ อาจารย์โค้ว จะเป็นผู้ดูแลให้

อาจารย์ชีวิน เปิดสถานที่นวดรักษา ที่จังหวัดภูเก็ต อาจารย์ชีวิน เปิดสถานที่นวดรักษา ที่จังหวัดภูเก็ต

อาจารย์ชีวินฯ จึงตัดสินใจ กลับไปอยู่ที่จังหวัดภูเก็ต เมื่อกลับไปที่ภูเก็ต ก็ไปเช่าบ้านอยู่เพื่อเปิดสถานที่นวดรักษา โดย ในขณะนั้นอาจารย์ชีวิน แบ่งการรักษาออกเป็นสามส่วน คือ การนวดเท้า (เพื่อตรวจสอบอาการเบื้องต้น) , การกดจุด และการรีดเส้น โดยเมื่อเริ่มมีรายได้ อาจารย์ชีวิน ก็จะใส่ซองส่งกลับไปให้ อาจารย์โค้ว เสมอ อาจารย์ชีวินฯ จึงตัดสินใจ กลับไปอยู่ที่จังหวัดภูเก็ต เมื่อกลับไปที่ภูเก็ต ก็ไปเช่าบ้านอยู่เพื่อเปิดสถานที่นวดรักษา โดย ในขณะนั้นอาจารย์ชีวิน แบ่งการรักษาออกเป็นสามส่วน คือ การนวดเท้า (เพื่อตรวจสอบอาการเบื้องต้น) , การกดจุด และการรีดเส้น โดยเมื่อเริ่มมีรายได้ อาจารย์ชีวิน ก็จะใส่ซองส่งกลับไปให้ อาจารย์โค้ว เสมอ

เดือนกุมภาพันธ์ 2537 อาจารย์โค้ว บอกกับอาจารย์ชีวินว่าจะมาเที่ยวตรุษจีน ที่จังหวัดภูเก็ต อ.ชีวิน กับ อัลเฟรด จึงร่วมกันซื้อตั๋วเครื่องบิน ไป-กลับ ให้แก่ อาจารย์โค้ว รวมทั้งใส่ซองค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ต่างหาก ให้อีกด้วย   เดือนกุมภาพันธ์ 2537 อาจารย์โค้ว บอกกับอาจารย์ชีวินว่าจะมาเที่ยวตรุษจีน ที่จังหวัดภูเก็ต อ.ชีวิน กับ อัลเฟรด จึงร่วมกันซื้อตั๋วเครื่องบิน ไป-กลับ ให้แก่ อาจารย์โค้ว รวมทั้งใส่ซองค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ต่างหาก ให้อีกด้วย

อาจารย์โค้ว เมื่อครั้งมาเยี่ยมอาจารย์ชีวิน ที่ภูเก็ต อาจารย์โค้ว เมื่อครั้งมาเยี่ยมอาจารย์ชีวิน ที่ภูเก็ต

การมาเที่ยวภูเก็ตในครั้งนั้น อาจารย์โค้วได้มาพักอยู่เป็นระยะเวลา 1 อาทิตย์ และช่วงเวลานี้ อาจารย์โค้วได้พาอาจารย์ชีิวิน ไปพบ ศิษย์พี่ของอาจารย์โค้ว ชื่ออาจารย์ลุง ฮอง กี เต็ก ซึ่งย้ายมาจากปีนัง มาอยู่ภูเก็ตได้เป็นเวลา นาน แล้วซึ่งหลังจากที่อาจารย์โค้ว กลับกรุงเทพฯ แล้ว อาจารย์ชีวิน ก็มีโอกาสไดัไปขอคำแนะนำ จากอาจารย์ลุง และมีโอกาสได้ร่วมรำไท่เก๊ก กับอาจารย์ลุง อย่างต่อเนื่อง การมาเที่ยวภูเก็ตในครั้งนั้น อาจารย์โค้วได้มาพักอยู่เป็นระยะเวลา 1 อาทิตย์ และช่วงเวลานี้ อาจารย์โค้วได้พาอาจารย์ชีิวิน ไปพบ ศิษย์พี่ของอาจารย์โค้ว ชื่ออาจารย์ลุง ฮอง กี เต็ก ซึ่งย้ายมาจากปีนัง มาอยู่ภูเก็ตได้เป็นเวลา นาน แล้วซึ่งหลังจากที่อาจารย์โค้ว กลับกรุงเทพฯ แล้ว อาจารย์ชีวิน ก็มีโอกาสไดัไปขอคำแนะนำ จากอาจารย์ลุง และมีโอกาสได้ร่วมรำไท่เก๊ก กับอาจารย์ลุง อย่างต่อเนื่อง

หลังจากนั้น อาจารย์โค้วก็ ได้พา อาจารย์ชีวิน ไปที่วัดต่าง ๆ หลายวัด เช่น วัดที่ตะกั่วป่า และที่พังงา เป็นต้น (2-3 วันแรกพักที่ภูเก็ต และไปพักที่วัด อีก 2-3 คืน) โดยเช้าวันหนึ่ง อาจารย์โค้ว ได้ออกมารำไท่เก๊ก ที่วัดที่จังหวัดพังงา หลังจากนั้น อาจารย์โค้วก็ ได้พา อาจารย์ชีวิน ไปที่วัดต่าง ๆ หลายวัด เช่น วัดที่ตะกั่วป่า และที่พังงา เป็นต้น (2-3 วันแรกพักที่ภูเก็ต และไปพักที่วัด อีก 2-3 คืน) โดยเช้าวันหนึ่ง อาจารย์โค้ว ได้ออกมารำไท่เก๊ก ที่วัดที่จังหวัดพังงา

สักพักก็เรียก อาจารย์ชีวิน เข้าไปเล่นไท่เก๊กด้วย วันนั้น อาจารย์ชีวิน เล่าว่า โดนตี จนปากแตกสี่มุมเมือง (หมายถึงแตกทุกมุมของปาก- ผู้เขียน) ซึ่งแผลเป็นยังปรากฏอยู่จนถึงปัจจุบันนี้ สักพักก็เรียก อาจารย์ชีวิน เข้าไปเล่นไท่เก๊กด้วย วันนั้น อาจารย์ชีวิน เล่าว่า โดนตี จนปากแตกสี่มุมเมือง (หมายถึงแตกทุกมุมของปาก- ผู้เขียน) ซึ่งแผลเป็นยังปรากฏอยู่จนถึงปัจจุบันนี้

อาจารย์โค้ว ถ่ายคู่ อาจารย์ชีวิน ที่บ้านเช่า จังหวัดภูเก็ต อาจารย์โค้ว ถ่ายคู่ อาจารย์ชีวิน ที่บ้านเช่า จังหวัดภูเก็ต

ทุกครั้งที่อาจารย์ชีวินกลับไปพบอาจารย์โค้ว อาจารย์โค้วมักจะถามว่าจะเรียนอะไรดี และทุกครั้ง อาจารย์ชีวิน ก็จะตอบว่าขอให้ช่วยจัดท่าของเก๊กแรก (เก๊กแรกของไท่เก๊ก นั้น ถือว่าสำคัญที่สุด เพราะเป็นพื้นฐานของเก๊กต่อไป-ผู้เขียน) และ แปดท่าหลัก (อันประกอบด้วย แผ่ ลี่ จี่ อังโช่ย เลี๊ยก อิ้ว โ๋ก๋่ว ซึ่งเป็นท่าพื้นฐานของไท่เก๊ก ออกเสียงตามภาษาแต้จิ๋ว- ผู้เขียน) ทุกครั้งที่อาจารย์ชีวินกลับไปพบอาจารย์โค้ว อาจารย์โค้วมักจะถามว่าจะเรียนอะไรดี และทุกครั้ง อาจารย์ชีวิน ก็จะตอบว่าขอให้ช่วยจัดท่าของเก๊กแรก (เก๊กแรกของไท่เก๊ก นั้น ถือว่าสำคัญที่สุด เพราะเป็นพื้นฐานของเก๊กต่อไป-ผู้เขียน) และ แปดท่าหลัก (อันประกอบด้วย แผ่ ลี่ จี่ อังโช่ย เลี๊ยก อิ้ว โ๋ก๋่ว ซึ่งเป็นท่าพื้นฐานของไท่เก๊ก ออกเสียงตามภาษาแต้จิ๋ว- ผู้เขียน)

โดย เมื่ออาจารย์โค้ว ได้ยินคำตอบ ก็จะหัวเราะทุกครั้งไป โดย เมื่ออาจารย์โค้ว ได้ยินคำตอบ ก็จะหัวเราะทุกครั้งไป

อาจารย์โค้ว สอน อัลเฟรด ช่วงตรุษจีน ปี 2537 ที่จังหวัดภูเก็ต อาจารย์โค้ว สอน อัลเฟรด ช่วงตรุษจีน ปี 2537 ที่จังหวัดภูเก็ต

เมื่อ อาจารย์โค้วกลับไปกรุงเทพฯ อาจารย์ชีวิน ก็จะโทรศัพท์ เข้าไปหาอาจารย์โค้ว ทุกวันพฤหัสฯ เพื่อขอคำแนะนำต่างๆ รวมทั้งสอบถาม   เมื่อ อาจารย์โค้วกลับไปกรุงเทพฯ อาจารย์ชีวิน ก็จะโทรศัพท์ เข้าไปหาอาจารย์โค้ว ทุกวันพฤหัสฯ เพื่อขอคำแนะนำต่าง ๆ รวมทั้งสอบถาม

สารทุกข์สุกดิบ ด้วย สารทุกข์สุกดิบ ด้วย

ปลายปี 2537 อาจารย์ชีวิน ได้ย้ายกลับไปที่เชียงใหม่ อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งอาจารย์ชีวินก็ยังติดต่อกับ อาจารย์โค้ว มิได้ขาด จนกระทั่งสงกรานต์ ปี 2538 อาจารย์โค้ว บอกว่าจะไปเที่ยวเชียงใหม่ กับครอบครัว โดยไปพักที่โรงแรมเซ็นทรัล การ์ดสวนแก้ว ซึ่งการพบกันครั้งนี้ก็เป็นอีกครั้งที่ อาจารย์ชีวิน ขอให้อาจารย์โค้วช่วยจัดท่า ของ เก๊กแรก กับแปดท่าหลัก

ปลายปี 2537 อาจารย์ชีวิน ได้ย้ายกลับไปที่เชียงใหม่ อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งอาจารย์ชีวินก็ยังติดต่อกับ อาจารย์โค้ว มิได้ขาด จนกระทั่งสงกรานต์ ปี 2538 อาจารย์โค้ว บอกว่าจะไปเที่ยวเชียงใหม่ กับครอบครัว โดยไปพักที่โรงแรมเซ็นทรัล การ์ดสวนแก้ว ซึ่งการพบกันครั้งนี้ก็เป็นอีกครั้งที่ อาจารย์ชีวิน ขอให้อาจารย์โค้วช่วยจัดท่า ของ เก๊กแรก กับแปดท่าหลัก

ในปีนั้น อาจารย์ชีวิน ได้สอน ลูกศิษย์คนหนึ่งชื่อลูก้า   ในปีนั้น อาจารย์ชีวิน ได้สอน ลูกศิษย์คนหนึ่งชื่อลูก้า

อาจารย์ชีวิน กับ ลูก้า ลูกศิษย์ชาวอิตาลี อาจารย์ชีวิน กับ ลูก้า ลูกศิษย์ชาวอิตาลี

ชาวอิตาลี (เป็นลูกศิษย์ตั้งแต่ตอนอยู่ที่ภูเก็ต) โดยอาจารย์ชีวิน สอนไท่เก๊กลูก้าถึงท่าคว้าจับหางนกกระจอก ก็เห็นว่าสรีระของลูก้าไม่เอื้ออำนวยที่จะฝึกมวยอ่อน เมื่ออาจารย์โค้วพบดังนั้น จึงรำมวยให้อาจารย์ชีวินดูหนึ่งชุด และให้อาจารย์ชีวินจำไว้และให้นำไปสอนลูก้าแทนการสอนไท่เก๊ก เมื่ออาจารย์โค้วรำจบ อาจารย์ชีวิน ก็ถามขึ้นทันทีว่าเป็นท่าชกสามตีแปดที่เรียกว่าจูแกก่า หรือเปล่า (จูแกก่าถือเป็นแขนงหนึ่งของหมัดตั๊กแตน) อาจารย์โค้วตอบและถามกลับว่า “ใช่ ลื้อจำได้หรือ” อาจารย์ชีวินตอบว่า “จำได้เพราะอาจารย์เล่าให้ฟังบ่อย” ซึ่ง ท่ารำจูแกก่า นับเป็นท่ารำชุดสุดท้ายที่อาจารย์โค้ว สอนให้แก่อาจารย์ชีวิน ชาวอิตาลี (เป็นลูกศิษย์ตั้งแต่ตอนอยู่ที่ภูเก็ต)

โดยอาจารย์ชีวิน สอนไท่เก๊กลูก้าถึงท่าคว้าจับหางนกกระจอก ก็เห็นว่าสรีระของลูก้าไม่เอื้ออำนวยที่จะฝึกมวยอ่อน เมื่ออาจารย์โค้วพบดังนั้น จึงรำมวยให้อาจารย์ชีวินดูหนึ่งชุด และให้อาจารย์ชีวินจำไว้และให้นำไปสอนลูก้าแทนการสอนไท่เก๊ก เมื่ออาจารย์โค้วรำจบ อาจารย์ชีวิน ก็ถามขึ้นทันทีว่าเป็นท่าชกสามตีแปดที่เรียกว่าจูแกก่า หรือเปล่า (จูแกก่าถือเป็นแขนงหนึ่งของหมัดตั๊กแตน) อาจารย์โค้วตอบและถามกลับว่า “ใช่ ลื้อจำได้หรือ” อาจารย์ชีวินตอบว่า “จำได้เพราะอาจารย์เล่าให้ฟังบ่อย” ซึ่ง ท่ารำจูแกก่า นับเป็นท่ารำชุดสุดท้ายที่อาจารย์โค้ว สอนให้แก่อาจารย์ชีวิน

ที่เชียงใหม่นี้เอง ที่อาจารย์โค้ว ได้พูดกับอาจารย์ชีวินว่าต้องการที่จะให้อาจารย์ชีวินเปิดสำนักโดยกล่าวว่า “ต๊ะลื้อเปิดสำนักน่ะ แล้วอั๊ว จะมาอยู่กับลื้อ อั๊วจะเลิกรักษาคนที่กรุงเทพฯ แล้วก็จะมาอยู่กับลื้อ ให้ลื้อสร้างกระท่อมเล็ก ๆ ให้อั๊ว หลังหนึ่ง” (อาจารย์โค้วจะเรียกอาจารย์ชีวิน ตามชื่อเล่นว่า ต๊ะ – ผู้เขียน) ที่เชียงใหม่นี้เอง ที่อาจารย์โค้ว ได้พูดกับอาจารย์ชีวินว่าต้องการที่จะให้อาจารย์ชีวินเปิดสำนักโดยกล่าวว่า “ต๊ะลื้อเปิดสำนักน่ะ แล้วอั๊ว จะมาอยู่กับลื้อ อั๊วจะเลิกรักษาคนที่กรุงเทพฯ แล้วก็จะมาอยู่กับลื้อ ให้ลื้อสร้างกระท่อมเล็กๆ ให้อั๊ว หลังหนึ่ง” (อาจารย์โค้วจะเรียกอาจารย์ชีวิน ตามชื่อเล่นว่า ต๊ะ – ผู้เขียน)

อาจารย์โค้ว มาเยือนเชียงใหม่ครั้งนี้เป็นเวลา 3 คืน 4 วัน โดยเมื่ออาจารย์โค้ว กลับไปกรุงเทพฯ แล้ว อาจารย์ชีวิน ก็ซึ่งเป็นช่วงที่ หมดเวลาเยี่ยมผู้ป่วยแล้ว แต่เนื่องจากได้คุยกับทางพยาบาล เขาจึงอนุญาตให้เข้าไปเยี่ยมได้   อาจารย์โค้ว มาเยือนเชียงใหม่ครั้งนี้เป็นเวลา 3 คืน 4 วัน โดยเมื่ออาจารย์โค้ว กลับไปกรุงเทพฯ แล้ว อาจารย์ชีวิน ก็ซึ่งเป็นช่วงที่ หมดเวลาเยี่ยมผู้ป่วยแล้ว แต่เนื่องจากได้คุยกับทางพยาบาล เขาจึงอนุญาตให้เข้าไปเยี่ยมได้

ในคืนนั้นอาจารย์จึงอยู่ที่โรงพยาบาลวิชัยยุทธ จนถึงเช้า ช่วงเช้า ก็มีลูกศิษย์ อาจารย์โค้ว เข้ามาอีกสามคน ชื่อ คุณย้ง คุณเอก และ คุณโอ ในคืนนั้นอาจารย์จึงอยู่ที่โรงพยาบาลวิชัยยุทธ จนถึงเช้า ช่วงเช้า ก็มีลูกศิษย์ อาจารย์โค้ว เข้ามาอีกสามคน ชื่อ คุณย้ง คุณเอก และ คุณโอ

อาจารย์ชีวิน ถ่ายร่วมกับศิษย์พี่น้อง (ถ่ายเมื่องานไหว้ครูไทฟูโด ปี 2548) อาจารย์ชีวิน ถ่ายร่วมกับศิษย์พี่น้อง (ถ่ายเมื่องานไหว้ครูไทฟูโด ปี 2548)

แม้ว่า อาจารย์โค้ว จะจากไปเป็นระยะเวลากว่า 10 ปีแล้ว แต่ทุกคนก็ยังกลมเกลียวกัน แม้ว่า อาจารย์โค้ว จะจากไปเป็นระยะเวลากว่า 10 ปีแล้ว แต่ทุกคนก็ยังกลมเกลียวกัน

(ซ้าย-ขวา) คุณย้ง, คุณหมิ่น, คุณยศ, คุณติ๊ก, อ.ชีวิน, คุณโอ และคุณเอก (ซ้าย-ขวา) คุณย้ง, คุณหมิ่น, คุณยศ, คุณติ๊ก, อ.ชีวิน, คุณโอ และคุณเอก โดยแม้ว่าอาจารย์ชีวิน ยังไม่เคยพบ คุณเอก และ คุณโอ มาก่อน แต่เมื่อพบกันก็ทราบทันทีว่าเป็นใคร เนื่องจากเคยได้ยินอาจารย์โค้วเล่าให้ฟังอยู่เสมอ ถึงลูกศิษย์รุ่นหลัง โดยแม้ว่าอาจารย์ชีวิน ยังไม่เคยพบ คุณเอก และ คุณโอ มาก่อน แต่เมื่อพบกันก็ทราบทันทีว่าเป็นใคร เนื่องจากเคยได้ยินอาจารย์โค้วเล่าให้ฟังอยู่เสมอ ถึงลูกศิษย์รุ่นหลัง

ไม่เปลี่ยน: อาจารย์ชีวิน ได้พักที่บ้านอาจารย์โค้ว ที่รามอินทรา เป็นเวลา 2-3 วัน ภรรยาอาจารย์โค้วจึงได้แนะนำให้อาจารย์ชีวิน กลับไปเชียงใหม่ก่อน เนื่องจากคาดว่า อาการป่วยของอาจารย์โค้ว (อาจารย์โค้ว ป่วยด้วยโรคนิ่วในถุงน้ำดี) คงต้องใช้เวลานานในการรักษา อาจารย์ชีวินจึงได้เดินทางกลับเชียงใหม่ แต่ก็ยังโทรศัพท์ถามข่าวคราวอยู่อย่างสม่ำเสมอ จนกระทั่งผ่านไป 2-3 เดือน อาจารย์ชีวิน จึงตัดสินใจเดินทางไปกรุงเทพฯ อีกครั้ง และได้มีการรวมศิษย์พี่น้องเท่าที่รวบรวมได้มาพร้อมกันที่บ้านอาจารย์โค้ว ที่เยาวราช ศิษย์พี่น้องในครั้งนั้นประกอบด้วย อาจารย์ชีวิน, คุณติ๊ก, คุณย้ง, คุณเอก, คุณโอ และ คุณเฮ้า และอาจารย์ชีวิน ยังได้พบกับอาจารย์ พีรพันธ์ อมรนนทฤทธิ์ (ลูกชายอาจารย์โค้ว ปัจจุบันถือเป็นอาจารย์ใหญ่ แห่งสำนักไท่เก๊กวัดเกาะ เยาวราช – ผู้เขียน) ไม่เปลี่ยน: อาจารย์ชีวิน ได้พักที่บ้านอาจารย์โค้ว ที่รามอินทรา เป็นเวลา 2-3 วัน ภรรยาอาจารย์โค้วจึงได้แนะนำให้อาจารย์ชีวิน กลับไปเชียงใหม่ก่อน เนื่องจากคาดว่า อาการป่วยของอาจารย์โค้ว (อาจารย์โค้ว ป่วยด้วยโรคนิ่วในถุงน้ำดี) คงต้องใช้เวลานานในการรักษา อาจารย์ชีวินจึงได้เดินทางกลับเชียงใหม่ แต่ก็ยังโทรศัพท์ถามข่าวคราวอยู่อย่างสม่ำเสมอ จนกระทั่งผ่านไป 2-3 เดือน อาจารย์ชีวิน จึงตัดสินใจเดินทางไปกรุงเทพฯ อีกครั้ง และได้มีการรวมศิษย์พี่น้องเท่าที่รวบรวมได้มาพร้อมกันที่บ้านอาจารย์โค้ว ที่เยาวราช ศิษย์พี่น้องในครั้งนั้นประกอบด้วย อาจารย์ชีวิน,คุณติ๊ก,คุณย้ง,คุณเอก,คุณโอ และ คุณเฮ้า และอาจารย์ชีวิน ยังได้พบกับอาจารย์ พีรพันธ์ อมรนนทฤทธิ์ (ลูกชายอาจารย์โค้ว ปัจจุบันถือเป็นอาจารย์ใหญ่ แห่งสำนักไท่เก๊กวัดเกาะ เยาวราช – ผู้เขียน) ไม่เปลี่ยน: อาจารย์ชีวิน ถ่ายรูปร่วมกับ อาจารย์ใหญ่ พีรพันธ์ อมรนนทฤทธิ์ ไม่เปลี่ยน: อาจารย์ชีวิน ถ่ายรูปร่วมกับ อาจารย์ใหญ่ พีรพันธ์ อมรนนทฤทธิ์ ไม่เปลี่ยน: ที่บ้าน วัดเกาะ เยาวราช ไม่เปลี่ยน: ที่บ้าน วัดเกาะ เยาวราช ไม่เปลี่ยน: ในครั้งนี้อาจารย์ชีวินได้นำหนังสือไท่เก๊ก ที่อาจารย์ชีวินได้เขียนขึ้นในขณะนั้น นำมาอ่านให้อาจารย์โค้ว ฟัง และให้ทุกคนช่วยกันแก้ไขปรับปรุง ในครั้งนี้อาจารย์ชีวินได้นำหนังสือไท่เก๊ก ที่อาจารย์ชีวินได้เขียนขึ้นในขณะนั้น นำมาอ่านให้อาจารย์โค้ว ฟัง และให้ทุกคนช่วยกันแก้ไขปรับปรุง สาเหตุหนึ่งที่อาจารย์ชีวินต้องการเขียนหนังสือไท่เก๊ก เนื่องจาก เพราะเคยได้รับปากอาจารย์โค้ว ไว้ว่าจะเขียนหนังสือไท่เก๊กออกมาเล่มหนึ่งให้กับอาจารย์โค้ว ไม่เปลี่ยน: สาเหตุหนึ่งที่อาจารย์ชีวินต้องการเขียนหนังสือไท่เก๊ก เนื่องจากเพราะเคยได้รับปากอาจารย์โค้ว ไว้ว่าจะเขียนหนังสือไท่เก๊กออกมาเล่มหนึ่งให้กับอาจารย์โค้ว หลังจากนั้นไม่นาน อาจารย์โค้ว ก็จากไปอย่างสงบ ในวันที่ 23 มีนาคม 2539 มีความคิดที่จะสร้างสำนักขึ้นแต่ยังติดปัญหาบางประการ ทำให้การก่อสร้างยังไม่ได้เริ่มขึ้น หลังจากนั้นไม่นาน อาจารย์โค้ว ก็จากไปอย่างสงบ ในวันที่ 23 มีนาคม 2539 มีความคิดที่จะสร้างสำนักขึ้นแต่ยังติดปัญหาบางประการ ทำให้การก่อสร้างยังไม่ได้เริ่มขึ้น

นับจากอาจารย์โค้ว กลับไปกรุงเทพฯ ได้ประมาณสามเดือน อาจารย์ชีวิน ก็ได้รับเพจ จากพี่ศิริพร (ลูกสาวอาจารย์โค้ว) ตอนประมาณ 2 ทุ่มกว่าๆ ว่า "อาจารย์โค้ว อยู่ที่ห้อง ไอ ซี ยู ให้รีบมา" เมื่ออาจารย์ชีวิน ทราบดังนั้นก็รีบเดินทางไปยังสนามบินเชียงใหม่ แต่ก็ไม่มีตั๋วในขณะนั้น จึงต้องนั่งรอ เผอิญมีตั๋วใบหนึ่งที่หากใครต้องการต้องจ่ายเพิ่ม 500 บาท อาจารย์ชีวิน จึงรีบติดต่อซื้อตั๋วใบนั้นทันที เมื่อถึงกรุงเทพฯ จึงรีบเดินทางต่อไปยัง โรงพยาบาลวิชัยยุทธ เมื่อไปถึงก็เป็นเวลาเที่ยงคืนกว่า

บทความและข่าวสารอื่นๆ

Taifudo Academy - โรงเรียนศิลปศาสตร์การป้องกันตัวไทยหัตถยุทธ หรือ ไทฟูโด รับรองหลักสูตรโดยกระทรวงศึกษาธิการ
หลานไฉ่เหอ (藍采和; แต้จิ๋ว: น่าไชหัว, ฮกเกี้ยน: หน่าไฉฮัม) เป็นหนึ่งใน โป๊ยเซียน (八仙) หรือแปดเซียนผู้เ...
Taifudo Academy - โรงเรียนศิลปศาสตร์การป้องกันตัวไทยหัตถยุทธ หรือ ไทฟูโด รับรองหลักสูตรโดยกระทรวงศึกษาธิการ
หานเซียงจื่อ (韓湘子; ฮกเกี้ยน: ฮั้นเจียวจู้) เป็นหนึ่งใน โป๊ยเซียน (八仙) หรือแปดเซียนแห่งลัทธิเต๋า ผู้ม...
Taifudo Academy - โรงเรียนศิลปศาสตร์การป้องกันตัวไทยหัตถยุทธ หรือ ไทฟูโด รับรองหลักสูตรโดยกระทรวงศึกษาธิการ
หลี่เถียไกว่ (李鐵拐; กวางตุ้ง: เหล่ยทิดกวาย, แต้จิ๋ว: ลี้ทิก๋วย, ฮกเกี้ยน: ลี่ทิกุย) หรือที่รู้จักในชื...
Taifudo Academy - โรงเรียนศิลปศาสตร์การป้องกันตัวไทยหัตถยุทธ หรือ ไทฟูโด รับรองหลักสูตรโดยกระทรวงศึกษาธิการ
เหอเซียนกู (何仙姑; แต้จิ๋ว: ฮ่อเซียนโกว, ฮกเกี้ยน: เฮอเซียนก๊อ) หรือที่รู้จักในชื่อ “นางฟ้าเหอ&#...
Taifudo Academy - โรงเรียนศิลปศาสตร์การป้องกันตัวไทยหัตถยุทธ หรือ ไทฟูโด รับรองหลักสูตรโดยกระทรวงศึกษาธิการ
ลฺหวี่ ต้งปิน (呂洞賓; แต้จิ๋ว: ลือท่งปิน, ฮกเกี้ยน: ลีตงปิ่น) เป็นหนึ่งใน โป๊ยเซียน (八仙) หรือแปดเซียนใ...
Taifudo Academy - โรงเรียนศิลปศาสตร์การป้องกันตัวไทยหัตถยุทธ หรือ ไทฟูโด รับรองหลักสูตรโดยกระทรวงศึกษาธิการ
จงหลีเฉฺวียน (鐘离權; กวางตุ้ง: จงสิดขือ, ฮกเกี้ยน: เจี๋ยงตีควน) เป็นหนึ่งใน โป๊ยเซียน (八仙) หรือแปดเซีย...